คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
เครื่องมือประกอบอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่งชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเนเครือข่ายได้หลายแบบ
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์หมายถึง
ส่วนประกอบเป้นเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
ส่วนที่1
หน่วยรับข้อมูลเข้า(Input Unit)
เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่ป้อนสัญญษณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ ได้แก่
-แป้นอักขระ
-แผ่นซีดี
-ไมโครโฟน
ส่วนที่2
หน่วยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit)
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้มา
ส่วนที่3
หน่วยความจำ
( Memory Unit )
ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางและผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
ส่วนที่4
หน่วยแสดงผล (Output Unti)
ทำหน้ที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอรืทำการประมวลผลหรือผ่านการคำนวน
ส่วนที่5
อุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral Equipmant)
เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทำงานได้ตลอด 24 ชม. ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถุกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารถย้ายถ่ายโอนข้อมูลจากเครื่องนึงไปเครื่องนึง
ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่รูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฏร์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช ระบบโรงพยาบาล เป้นต้น
การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบด้วย
1. ฮาด์แวร์ หมายถึง ตัวเครื่องหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้
ส่วนที่ 1
มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยการทำการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลดิบ และให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของซีพียูนั้น
ส่วนที่ 2
จำแนกออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. หน่วยความจำหลัก
2. หน่วยความจำรอง
3. หน่วยอักษรข้อมูล
1.1 หน่วยความจำแบบ" แรม "
RAM = Random Access Memory เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล
1.2 หน่วยความจำแบบ" รอม " ROM = Read only Memory
เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ข้อมูลที่เป็นถาวรไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ซีพียูอ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้
หน่วยความจำแบบลบเลือน Nonvolatile Memory
2. หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำชนิดนี้มีไว้สำหรับสำรองหรือทำงานกับข้อมูลและโปรแกรมขนาดใหญ่เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำหลักมีจำกัด หน่วยความจำสำรองสามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น แผ่นบันทึก Floppy Disk จานบันทึกแบบแข็ง Hard Disk แผ่นซีดีรอม CD-Rom จานแสงแม่เหล็ก
หน่วยความจำสำรอง
( Secondary Memory Unit )
หน่วยจำสำรอง หรือหน่วยเก็บข้อมูล เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้
หน่วยความจำรองมีหน้าที่หลักคือ
1. ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2. ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3. ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
จะช่วยแก้ไขปัญหาสูญหายของข้อมูลอันเนื่องจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้าประมวลผล เมื่อเรียบร้อยผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยจำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก
เช่น ฮารด์ดิสก์ แผ่นบันทึกซิปดิสก์ ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็ก หน่วยความจำแบบเฟลช
ส่วนแสดงข้อมูล
คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูล ได้แก่ จอภาพ Monitor เครื่องพิมพ์ Printer เครื่ิองพิมพ์ภาพ Pioter และลำโพง Speaker เป็นต้น
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนเช่นกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ Peopleware
1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่วบกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ Eop Manager
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน ( System Analyst หรือ Sa )
3. โปรแกรมเมอร์ Programmer
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ Comput Operator
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล Data Entry Operator
- นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
- โปรแกรมเมอร์
นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรมแกรม
- วิศวกรรม
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้
- พนักงานปฏิบัติการ
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือการกิจประจำวัน
อาจแบ่งประเภทเป็น 4 ระบบ
1. ผู้จัดระบบ คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่
3. โปรแกรมเมอร์ คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่่งงานเครื่ิงคอมพิวเตอร์
4. ผู้ใช้ คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ซอฟต์แวร์ คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าทำให้ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบุรณ์ตามต้องการเรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้างจัดเก็บและนำมาใช้งานหรือเผยแพร่
หน้าที่
เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้ด้วย
ประเภทของซอฟต์แวร์
แบ่งออกเป็น 3 ระบบใหญ่ๆ คือซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และซอฟต์แวร์ผู้ใช้งานเฉพาะ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ System Software
เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ของซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ เช่น Norton's Utilies ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
หน้าที่ของระบบซอฟต์แวร์ระบบ
1. ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้ การกดแป้นต่างๆบนแผงแป้นอักขระ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ
2. ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยัง หน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน
3. ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการในสารบัญ directory ในแผ่นบันทึกการทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห้นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ระบบปฏิบัติการ Operating System : os
2. ตัวแปลภาษา
1. ระบบปฏิบัติการ ที่เรียก โอเอส Operating System :os
เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1. ระบบปฏิบัติการ Operating System : os
1) ดอส Disk Operating System : Dos เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษรดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้กันดี
2) วินโดวส์ Windows เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาตอจากดอส โดยผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานหลายงานพร้อมกันได้
3) ยูนิกซ์ Unix เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด Open system เป้นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งาน
4) ลีนุกซ์ Linux เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์้เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรมแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ที่เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน
ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อันเทรล Pc Intel ดิจิตอล Digital Alpha
computer และซันสปาร์ด Sun sparc ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่
แมคอินทอช Macintosh เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำไปใช้งานกราฟิกออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ชนิด
1. ประเภทใช้งานเดียว Single-tasking
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้นใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์
2. ประเภทใช้หลายงาน Multi-tasking
ระบบปฏิบัติการประเภทหนึ่งสามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานทำในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน
3. ประเภทใช้งานหลายคน Multi-User
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใดคอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน
2. ตัวแปลภาษา
การพัมนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาให้เป็นภาษเครื่อง
ซึ่งภาษาระดับสูงได้แก่ ภาษา Basic , Pascal , cและภาษาโลโกเป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran cobol และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Applcation Softwaer
ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน
การจัดทำบัญชี การตกแต่ง หรือการออกแบบ เว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึันเองโดยเฉพาะ
2. ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป
มีทั่วโปรแกรมเฉพาะและโปรแกรมมาตรฐาน
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆดังนี้
1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย ( Graphic and Multimedia )
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ web ad communication
กลุ่มการใช้งานทางธุรกิจ Business
ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ให้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและการออกเว็บไซต์ เช่น โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft visio Professional โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ Core idraw Adobe , photoshiop โปรแกรมตัดต่อวีดีโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere , Pinnade Studio Dv โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorwaer , Toolbook Instructor Adobe Director โปรแกรมสร้างขึ้เว็บ อาทิ
Adobe flsh Adobe Dream Weaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมลล์ การท่องเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย
ความจำเป็นของการใช้งานของซอฟต์แวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ
ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์ต้องการบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง Machine Languages
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข0 และ 1 ได้ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหะสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองตัวนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
ภาษาแอสเซมบลี Assembly Languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกันคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากและจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า แอสเซมบออร์
ภาษาระดับสูง High-Level Languages
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3เริ่มมีการใช้ชุคคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น
คอมไพเลอร์ Compiler อินเทอร์พรีเตอร์ Interpretear
คอมไพเลอร๋ จะทำงานการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสด็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งต่อไปนี้